K-Me Article


แบบฝึกหัดเรื่องการใช้ค่า Eo ทำนายปฏิกิริยารีดอกซ์

แบบฝึกหัด 

1. กำหนดค่า  Eo ดังนี้

 ปฏิกิริยา                                                     Eo(V)

Cu2+ + 2e-→  Cu                                     +0.337

Ag+ + e-  →  Ag                                        +0.771

Cl2 + 2e- →  2Cl-                                       +1.36

2H+ + NO3- + e-  →  NO2 + H2O               +0.80

2H+ + 2e-  → H2                                       0.00

H2SO4 + 4H+ + 4e-  →  S + 3H2O             +0.45

4H+ + SO42- + 2e- →  H2SO4 + H2O          +0.17

จงพิจารณาว่าข้อใดถูกต้อง

      1.จุ่มโลหะเงินลงในกรด HCl จะเกิดแก๊ส H2                      

2.จุ่มโลหะทองแดงลงในกรด HNO3 จะเกิดแก๊ส NO2

      3.จุ่มโลหะทองแดงลงในกรด H2SO4 จะเกิด H2SO3

      4.จุ่มโลหะเงินลงในกรด H2SO3 จะเกิดแก๊ส SO2

2. (Ent.44) กำหนดให้

      A+ + e- → A   Eo = -1.5 V

      B+ + e- → B   Eo = -0.5 V

      C+ + e- → C   Eo = +0.1 V

      D+ + e- → D   Eo = +0.8 V

พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้

ก.  A+ + D → D+ + A                           ข.   C+ + B → C + B+

ค.  D+ + C → D + C+                          ง.  D + B+  → B + D+

ปฏิกิริยาใดสามารถเกิดได้จริงตามธรรมชาติ

1. ก และ ข                    2. ก และ ค                    3. ข และ ค                    4. ข และ ง

 

 

 

 

3.(Ent.43)กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน

      ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์                       Eo(V)

      A2 + 2H+ + 2e- → H2A2           +0.68

      B3+ + e-  → B2+                      +0.80

      C2 + 2e →  2C-                     +1.07

      D4+ + e-  →  D3+                     +1.45

จงพิจารณาว่าปฏิกิริยาต่อไปนี้  ข้อใดบ้างที่เกิดขึ้นได้เอง

1.  2B3+ + H2A2 →  2B2+ + A2 + 2H+               2.  A2 + 2H+ + 2C-  →  H2A2 + C2

3.  D4+ + B2+ → D3+ + B3+                              4.  2B3+ + 2C-  →  2B2+  + C2

4.พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้

ครึ่งปฏิกิริยา

Eo(V)

Fe2+ +   2e-  -->  Fe

-0.44

Cu2+ +  2e- -->  Cu

+0.34

Sn2+ +  2e- -->  Sn

-0.14

Cd2+ +  2e- -->  Cd

-0.40

Mg2+ +  2e- -->  Mg

-2.37

การใช้ภาชนะโลหะบรรจุสารละลายในข้อใดจึงจะไม่เกิดการผุกร่อน

            1.ภาชนะเหล็กบรรจุสารละลาย Cd2+        2.ภาชนะแมกนีเซียมบรรจุสารละลาย Sn2+

            3.ภาชนะดีบุกบรรจุสารละลาย Fe2+          4.ภาชนะดีบุกบรรจุสารละลาย Cu2+

5.กำหนดศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานครึ่งเซลล์  ดังนี้

            A2+ + 2e-  →  A        Eo = -0.3 V

            B2+ + 2e-  → B        Eo = +0.2 V

            C2+ + 2e-  →  C        Eo = +0.5 V

            D2+ + 2e- →  D         Eo = -0.4 V

ใช้โลหะ A B C และ D  เป็นภาชนะในการเก็บสาระลาย  ข้อใดที่ภาชนะไม่มีการสึกกร่อน

            1. โลหะ D เก็บสารละลาย A+      2. โลหะ C เก็บสารละลาย D2+

            3.โลหะ B เก็บสารละลาย C2+      4. โลหะ A เก็บสารละลาย B2+

 

 

กำหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานครึ่งเซลล์ดังนี้  จงตอบคำถามข้อ 6-7

            ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์                                   Eo(V)

            Na+ + e- → Na                                  -2.71

            Al3+ + 3e- → Al                                 -1.66

            2H2O + 2e-  → H2 + 2OH-                 -0.88

            Cr3+ + 3e- →  Cr                                -0.74

            Fe2+ + 2e- →  Fe                                -0.44

            Ni2+ + 2e- → Ni                                 -0.25

            2H+ + 2e-  → H2                               0.00

            Br2 + 2e-  → 2Br-                               +1.08

            O2 + 4H+ + 4e-  →  2H2O                   +1.23

            Cl2 + 2e- →  2Cl-                                +1.36

            F2 + 2e-  →  2F-                                  +2.87

6.  การเรียงลำดับของไอออนที่มีความสามามารถในการรับอิเล็กตรอนจากมากไปน้อย  ข้อใดถูกต้อง

            1. Al3+>Fe2+>Cr3+                     2. Fe2+>Al3+>Ni2+

            3.Ni2+>Fe2+>Cr3+                     4.Cr3+>Al3+>Ni2+

7.  ทดลองจุ่มแผ่น Al ลงในสารละลายต่อไปนี้ซึ่งมีความเข้มข้นเท่ากัน

            ก. สารละลาย HF                       2. สารละลาย HCl

            ค. สารละลาย HBr                     4. สารละลาย FeCl2

            ผลการทดลองข้อใดถูกต้อง

  1. เกิดฟองก๊าซ F2 Cl2 และ Br2 ในสารละลาย a  b  และ  c  ตามลำดับ
  2. เฉพาะสารละลาย b  และ c  เท่านั้นที่จะเกิดก๊าซ
  3. สารละลาย a เกิดก๊าซ H2  สารละลาย d เกิดก๊าซ Cl2

4.  ในสารละลาย d แผ่น Al  กร่อน  และมี Fe มาเกาะ

8.    โลหะเจือที่ใช้เป็นชิ้นส่วนเครื่องบินประกอบด้วย Al ร้อยละ 5.5 โดยมวล  ถ้านำชิ้นส่วนโลหะเจือนี้ 2.0 กรัม  มาทำปฏิกิริยากับสารละลาย  HCl มากเกินพอ  ปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังสมการ

            Al + HCl è  AlCl3 + H2 (ยังไม่ดุล)  แก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นจะหนักกี่กรัม  (อัตนัย)

            กำหนด    Al3+ + 3e →  Al   ; Eo = -1.66 V

                           Cu2+ + 2e- → Cu ; Eo = + 0.34 V

9.  .กำหนดค่า Eoของปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชั่นดังนี้

            Cu2+ + 2e-  →  Cu                  ;  Eo  = +0.34 V

            Al3+ + 3e- →  Al                      ;  Eo  =  -1.66 V

            2H+ + 2e-  →  H2                    ;  Eo  =  0.00 V

            โลหะผสมที่เกิดจาก Al และ Cu ร้อยละโดยมวลเท่ากับ 80 และ 20 ตามลำดับ  นำมาทำปฏิกิริยากับกรด HCl  ความเข้มข้น 6 โมล/ลิตร  200 cm3  จนปฏิกิริยาสมบูรณ์เกิดก๊าซ H2 6.72 dm3  ที่  STP  โลหะผสมที่นำมาทำปฏิกิริยาหนักกี่กรัม  ( Al = 27     Cu = 63.5 )

          1.  5.4 กรัม             2. 1.35  กรัม           3.  6.75  กรัม    4. ไม่มีข้อถูก

10. (Ent.44)  จากข้อมูลต่อไปนี้

            ก.  Zn  ไม่ทำปฏิกิริยากับน้ำ  แต่  Na  ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ

            ข.  จุ่ม  Cu  ลงในสารละลาย   AgNO3  สารละลายจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อน

            ค.  จุ่ม  Zn  ลงในสารละลาย  CuSO4  สีฟ้าของสารละลายจางลง

     จงเรียงลำดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อย

            1.  Na  Zn  Cu  Ag                    2.  Zn  Na  Cu  Ag                   

3.  Cu  Zn  Ag  Na                    4.  Ag  Cu  Zn  Na

11.  (Ent.44)  พิจารณาศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันต่อไปนี้

                                                                        Eo (V)

            F2(g)  +  2e-  →  2F-(aq)                     +2.87

            Ag+(aq)  +  e-  →  Ag                         +0.80

            Cu+(aq)  +  e-  →  Cu(s)                    +0.52

            Fe2+(aq)  +  2e-  →  Fe(s)                  -0.44

            Na+(aq)  +  e →  Na(s)                     -2.71

     จากข้อมูลข้างต้น  ข้อใดถูกต้อง

            1.  F-  เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่า  Na

2.  เมื่อต่อครึ่งเซลล์  Pt/F2/F-  กับครึ่งเซลล์  Fe/Fe2+  พบว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์จะเบนไปทางขั้ว  Fe

3.  เมื่อต่อครึ่งเซลล์ของทองแดงเข้ากับครึ่งเซลล์ของเหล็กโดยให้ขั้วทองแดงเป็นแคโทด  และขั้วเหล็กเป็นแอโนด  พบว่าขั้วเหล็กเกิดการสึกกร่อน

            4.  ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์  Cu/Cu2+  //  F-/F2/Pt  มีค่าเท่ากับ  3.39  โวลต์

12.  (Ent.45)  เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายได้ผลตามตาราง

โลหะ

สารละลาย (1M)

ผลการทดลอง

Pb

CuSO4

สีของสารละลายจางลง

Al

CuSO4

สีของสารละลายจางลง

Al

Pb(NO3)2

มีโลหะเกาะที่ผิว  Al

Cu

AgNO3

มีโลหะเกาะที่ผิว  Cu

 

13. (Ent.45)  จากผลการทดลองจุ่มแผ่นโลหะลงในสารละลายต่อไปนี้

โลหะ

สารละลาย

ผลการทดลอง

Pb

Ni2+

ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

Ni

Cd2+

ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

Pb

Ag+

เกิดการเปลี่ยนแปลง

     ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูก

ก.      เมื่อจุ่ม  Pb  ลงในสารละลาย  Cd2+  จะได้โลหะ  Cd  เกาะบนแท่ง  Pb

ข.      Ag  เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่า  Cd

ค.      ในเซลล์ไฟฟ้า  Ni/Ni2+  //  Ag+/Ag  เข็มของโวลต์มิเตอร์จะเบนไปทาง  Ag

1.  ก  เท่านั้น      2.  ก และ ข       3.  ค เท่านั้น      4.  ก  ข  และ  ค

14.  (Ent.46)  กำหนดให้

            Cu2+  +  2e-  →  Cu                            ;  Eo  =   +0.337  V

            Ag+  +  e-  →  Ag                    ;  Eo  =   +0.771  V

            Cl2  +  2e-  →  2Cl-                 ;  Eo  =   +1.36  V

            2H+  +  NO3-  +  e-  → NO2  +  H2O      ;  Eo  =    +0.80  V

            2H+  +  2e-  →  H2                  ;  Eo  =  0.00  V

            H2SO3  +  4H+  +  4e-  →  S  +  3H2O     ;  Eo  =   +0.45  V

            4H+  +  SO42-  +  2e-  →  H2SO4  +  H2O   ;  Eo  =   +0.17 V

     ข้อใดถูกต้อง

1.  จุ่มโลหะเงินลงในกรด  HCl  จะเกิดแก๊ส  H2  อย่างรวดเร็ว

2.  จุ่มโลหะทองแดงลงในกรด  HNO3  จะเกิดแก๊ส  NO2  สีน้ำตาลแดง

3.  จุ่มโลหะทองแดงลงในกรด  H2SO4  จะเกิด  H2SO3  ในสารละลาย

4.  จุ่มโลหะเงินลงในกรด  H2SO4  จะเกิดแก๊ส  SO2

 

15. (A-NET  48)  กำหนดค่าต่างศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันต่อไปนี้

ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์                                 Eo(V)

Cl2(g)+ 2e-                →       2Cl-(aq)           + 1.36

O2(g)+  4H+(aq) + 4e-  →   2H2O(l)   + 1.23

Ag+(aq)  + e-  →   Ag(s)                 + 0.80

I2(s)+ 2e-        →   2I-                         + 0.54

ปฏิกิริยาใดบ้างที่สามารถเกิดได้

   ก.  Cl2(g)+ 2I-(aq)      →     2Cl-(aq)            + I2(s)     

   ข. 2Ag(s)+I2(s)      →     2AgI(aq)   

   ค. 2Ag(s)+ Cl2(g)  →   2AgCI(aq)

   ง. O2(g)+ 4HCl(aq) →   2Cl2(g) + 2H2O

  1. ก และ ค เท่านั้น
  2. ข และ ค เท่านั้น
  3. ก ข และ ค
  4. ข ค และ ง

16.  (Ent.46)  จากผลการทดลองจุ่มแผ่นโลหะลงในสารละลายต่อไปนี้        

โลหะ

สารละลาย

ผลการทดลอง

Pb

Ni2+

ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

Ni

Cd2+

ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

Pb

Ag+

เกิดการเปลี่ยนแปลง

และเมื่อจุ่ม Pb ลงในสารละลายกรด  HCl  พบว่าเกิดแก๊ส  H2  ขึ้น  โลหะในข้อใดต่อไปนี้สามารเกิดปฏิกิริยากับ HCl  ได้ผลเช่นเดียวกับ  Pb  แน่นอน

        1.  Ag  และ  Ni                  2.  Ag  และ  Cd                        3.  Cd  และ  Ni             4.  Cd  เท่านั้น



รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

Size : 18.69 KBs
Upload : 2012-11-21 05:33:30
ติชม

กำลังแสดงหน้า 1/0
<<
1
>>

ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?

0
คะแนนโหวด
สร้างโดย :


K-Me
รายละเอียด Share
สถานะ : ผู้ใช้ทั่วไป
วิทยาศาสตร์


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
70 หมู่ 2 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ 10170
โทรศัพท์ 0 2441 3593 E-Mail:satriwit3@gmail.com


Generated 1.080142 sec.