K-Me Article


ตอนที่ 9/1 แบบฝึกหัดสำหรับตอนที่ 9

แบบฝึกหัด  สำหรับตอนที่ 9 เรื่อง สภาพขั้วของโมเลกุลและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล 

1.  (Ent.41 ต.ค.)   พิจารณาความแตกต่างระหว่างจุดเดือดของสารประกอบของไฮโครเจนกับธาตุหมู่ VI1A  ซึ่งมีลำดับดังนี้  HF>HCl

                1.  เพราะ HCl มีแรงลอนดอนต่ำสุด                                   2.  เพราะ HCl มีแรงลอนดอนสูงสุด   

                3.เพราะ HCl มีแรงแวนเดอร์วาลส์ต่ำสุด                           4.เพราะ HCl ไม่เกิดพันธะไฮโดรเจน

 

  2.  (Ent.42 มี.ค.)  กำหนดสมบัติของสารประกอบ  A  B  C  และ  D  ดังนี้

                ก.  A  C  และ  d  ละลายน้ำ                 ข.  B  C    และ  D  เป็นสารประกอบโคเวเลนต์

                ค.  B  เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว                     ง.  D  เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำ

                การเรียงลำดับจุดเดือดข้อใดถูกต้อง

                1.   A > B >C > D                                  2.  A > C > B > D

                3.  A > D > C > B                                  4.  D > A > C > B

 

3.  (Ent.42 ต.ค.)  สารประกอบคู่ใดที่ไม่ได้เรียงลำดับความแรงขั้วจากสูงไปต่ำ

                1.  HBr  HCl                           2.  H2O  H2S                          3.  NCl3  BCl3                        4.  IF  BrCl 

 

4.  (Ent.43 ต.ค.)  กำหนดค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) ของธาตุบางชนิด

อะตอม

ค่า EN

Si

1.90

H

2.20

S

2.58

Br

2.96

Cl

3.16

                สภาพขั้วของพันธะโคเวเลนต์ต่อไปนี้  ข้อใดเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง

                1.  H-Cl  H-Br  Si-S  Si-H                    2.  H-Cl  Si-S  Si-H  H-Br

                3.  H-Cl  H-Br  Si-H  Si-H                    4.  Si-H  Si-H  H-Br  H-Cl

 

5.  (Ent.44 มี.ค.) การกล่าวถึง แรงระหว่างโมเลกุลข้อใดผิด

                1.  แรงแวนเดอร์วาลส์ระหว่างโมเลกุลของ H2O  มีค่ามากกว่าระหว่างโมเลกุลของ NH3

                2.  แรงลอนดอนระหว่างโมเลกุลของ  SiH4  มีค่ามากกว่าระหว่างโมเลกุลของ  CH4

                3.  พันธะไฮโดรเจนใน  C2H5OH  แข็งแรงมากกว่าใน  C2H5SH

                4.  พันธะไฮโดรเจนใน  CH3F  แข็งแรงมากกว่าใน  CH3OH

 

6.  (Ent.47 มี..ค.)  สารในข้อใดที่แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจนทุกสาร

                1.   H2NNH2   CH3F   H2S   CH4                                          2.   CHCl3   CH3COCH3   SiH4   HCl

                3.   CH3NH2   HCOOH   HF   H2O2                                    4.   NH3   H2O   H2S   H2CO3

 

7.  (Ent.47 ต.ค.)  พิจารณาสมบัติของธาตุสมมติต่อไปนี้

ธาตุ

สมบัติของธาตุ

A

มีขนาดเล็กที่สุดในตารางธาตุ

B

อยู่ในคาบที่  3  และหมู่เดียวกับ 

C

มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากที่สุด

D

อยู่ในคาบเดียวกับ  มีเลขอะตอมน้อยกว่า  O  แต่มี  IE1  มากกว่า

               
ข้อใดผิด

                1.  AC  มีจุดเดือดสูงกว่า DA3

                2.  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ  DA3  มากกว่าของ  A2B

                3.  DC3  และ BC3  มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอะตอมกลางเท่ากัน

                4.  A2B  และ  DA3  มีรูปร่างโมเลกุลเป็นมุมงอและสามเหลี่ยมแบนราบตามลำดับ

 

8.  (Ent.47 ต.ค.)  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแบบพันธะไฮโดรเจนข้อใดผิด

 

 

9.  (Ent.47 ต.ค.)  ข้อใดที่โมเลกุลไม่มีขั้วทั้งหมด

                1.  CH4   NH3   CHCl3                                           2.  CCl4   SF6   PCl5

                3.  BF3   PF3   NH3                                 4.  PCl5   CH2Cl2   CCl4

 

10.  (A-net.48) พันธะเคมีในสารต่อไปนี้ข้อใดถูก

 

พันธะ

 

ไอออนิก

โคเวเลนต์

โคออร์ดิเนตโคเวเลนต์

ไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล

1.

SiCl4

XeF4

NH4+

HF

2.

KBr

Cl2O

PH3

H2S

3.

SF6

PCl5

SO2

H2O

4.

MgO

BF3

O3

NH3

 

11.  (เคมีโอลิมปิค 47)  สารในข้อใดมีจุดหลอมเหลวสูง  ไม่นำไฟฟ้าในสภาวะของแข็งและไม่ละลายน้ำ

                1.  LiF                     2.  Al2O3                 3.  Ni                                       4.  SiH4

 

12.  (เคมีโอลิมปิค 47)  ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสาร

                1.  แก๊ส  F2  สามารถทำให้เป็นของเหลวที่อุณหภูมิต่ำและความดันสูง  เนื่องจากอะตอมฟลูออรีนมีค่าอิเล็กโตร
                   เนกาติวิตีสูง  ทำให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้

                2.  โมเลกุล  Br2  เป็นของเหลว  ในขณะที่โมเลกุล  Cl2  เป็นแก๊ส  เนื่องมาจากโมเลกุล  Br2  มีขนาดใหญ่กว่า 
                   ทำให้เกิดแรงลอนดอนระหว่างโมเลกุลได้ง่ายกว่า

                3.  แอมโมเนีย (NH3)    มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำ (H2O) เนื่องจากแอมโมเนียมีไฮโดรเจน  3  อะตอมต่อโมเลกุล  น้ำ
                   มีไฮโดรเจน  2  อะตอมต่อโมเลกุล  ดังนั้นพันธะไฮโดรเจนของแอมโมเนียจึงมีค่ามากกว่าน้ำ

                4.  HI  มีจุดเดือดต่ำกว่า  HBr  เนื่องจากระหว่างโมเลกุลของ  HI  มีแรงแวนเดอร์วาลส์ต่ำกว่า  HBr

 

13.  (เคมีโอลิมปิค 46)  ถ้าไม่นับไฮโดรเจน  โมเลกุลในข้อใดที่เป็นไปตามกฎออกเตตและมีขั้ว

                ก.  SiH4                  ข.  ClF3                   ค.  SCl2                  ง.  CH2O

                1.  ก  ค  ง                               2.  ข  ค  ง                                3.  ข  ค                    4.  ค  ง

 

14  (เคมีโอลิมปิค 46)  พิจารณาสารประกอบต่อไปนี้  สารใดน่าจะไม่มีแรงยึดเหนี่ยวประเภท  พันธะไฮโดรเจน

                ก.  H2O                   ข.  MaOH               ค. CH3OH              ง.  HI

                1.  ก   ข                   2.  ข   ค                   3.  ก   ค                  4.  ข   ง

 

15.  (เคมีโอลิมปิค 44)  โมเลกุลต่อไปนี้ข้อใดเป็นโมเลกุลที่มีสภาพขั้วของโมเลกุลเป็นชนิดเดียวกัน

                1.  PCl3  BBr3  PCl5                               2.  CO2  GeBr4  PBr2Cl2

                3.  BrCl3  CS2  OF2                               4.  AsF5  SO2  XeO3

 

16.  (เคมีโอลิมปิค 43)  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูก

                1.  NCl3  เป็นโมเลกุลมีขั้ว  รูปร่างโมเลกุลเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ

                2.  PBr3  และ  BCl3  มีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันและเป็นโมเลกุลมีขั้ว

                3.  CS2  เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว  รูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง

                4.  SCl2  และ  SCO  เป็นโมเลกุลมีขั้ว  รูปร่างโมเลกุลเป็นเส้นตรง

 

17.   (เคมีโอลิมปิค 43)  ถ้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว  A  มีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว  B  สมบัติข้อใดต่อไปนี้ที่ของเหลว  A  มีค่าน้อยกว่าของของเหลว  B

                1.  จุดเดือดปกติ

                2.  อุณหภูมิที่ทำให้ของเหลวมีความดันไอเท่ากับ  100  mmHg

                3.  ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ

                4.  ความดันไอที่อุณหภูมิห้อง

 

18.  (เคมีโอลิมปิค 43)  มีของเหลว  4  ชนิด  คือ  A  B  C  และ  D   พบว่า  A  ไม่ละลายใน  B  และ  C  ไม่ละลายใน  D  ส่วน  A  และ  D  ละลายซึ่งกันและกันได้ดี  สารชุดใดเป็นไปได้มากที่สุด

 

A

B

C

D

1.

CS2

H2O

CO2

CCl4

2.

H2O

C6H6

Br2

CHCl3

3.

H2O

C6H14

C2H5OC2H5

CH3COOH

4.

C6H14

CH3COOH

NCl3

C2H5OH

 

19.  (เคมีโอลิมปิค 43)  ข้อใดเป็นโมเลกุลที่เกิดจากพันธะโคเวเลนต์มีขั้วทั้งหมด  แต่โมเลกุลไม่มีขั้ว

                1.  NCl3   BCl3   CS2                             2.  SO2  AsCl5  SiH4

                3.  PCl3   CH4   CO2                              4.  BeCl2   PCl5   SF6

20.  Which of the following is a nonpolar molecule? (Ans.b) (สารในข้อใดโมเลกุลไม่มีขั้ว)
       a)   BCl3          b)   PCl3                 c)   H2O                  d)   CH2Cl2            e)   NO

 

 

21.  Which of the following is a polar molecule? (Ans.b) (สารในข้อใดโมเลกุลมีขั้ว)
       a)   BrF5                           b)   XeF4                c)   SF6                   d)   XeF2                e)   CCl4

 

 

22.  Consider the following molecules and select those that are nonpolar. (Ans.b)
       (จงพิจารณาสารที่กำหนดให้ต่อไปนี้ว่าชนิดใดโมเลกุลไม่มีขั้ว)
       1) XeF4                            2) SF4                     3) SiF4
       a)   3 only                  b)   1 and 2                    c)   2 only             d)   1 only          e)   1 and 3

 

23. Consider the following molecules and select those that are nonpolar.  (Ans.c)
       (จงพิจารณาสารที่กำหนดให้ต่อไปนี้ว่าชนิดใดโมเลกุลไม่มีขั้ว)
     1) BF3            2) PH3               3) SO3               4) ClF3
     a)   2 and 3     b)   1 and 2         c)   1 and 3         d)   2 and 4         e)   3 and 4

 

24. Consider the following molecules and select those that are nonpolar.  (Ans.c)
      (จงพิจารณาสารที่กำหนดให้ต่อไปนี้ว่าชนิดใดโมเลกุลไม่มีขั้ว)
      1) CO               2) CO2                    3) SO2                    4) SO3
     a)   2 only        b)   1 only           c)   2 and 4         d)   4 only           e)   1 and 3

25. Which of the following has a dipole moment?  (Ans.c)
     (สารในข้อใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นแรงระหว่างขั้ว)
     a)   BF3              b)   CO2                                 c)   SO2                  d)   CO2 ,BF3         e)   BF3 , SO2

 

 

26.  Is the PF3 molecule polar, or is it nonpolar? Explain. (PF3  เป็นโมเลกุลมีขั้วหรือไม่เพราะเหตุใด)

 

 

27. Which of the following bonds is most polar? (พันธะในข้อใดมีขั้วมากที่สุด)

          a)    N – Cl                     b)  C – N              c)   S – S                d)   Br – Br             e)   S – O              

 

 

28.    Which of the following is a polar species? (สารในข้อใดเป็นชนิดโมเลกุลมีขั้ว)

          a)    CO2                         b)            PCl                      c)  ICl2                   d)  TeCl4                e)  CCl

 

 

29.  Draw the Lewis structure     · Determine the shape around the central  atom     · State whether the molecule is polar or non-polar (จงเขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสของสารแต่ละสาร  แล้วบอกรูปร่างโมเลกุล  และตัดสินว่าเป็นโมเลกุลมีขั้วหรือไม่มีขั้ว) 

 

Substants
(สารที่กำหนด) 

Lewis strucyure
(สูตรโครงสร้างลิวอิส)

shape around the central  atom
(รูปร่างโมเลกุล)   

polar or non-polar
(มีขั้วหรือไม่มีขั้ว)


CH3F

 

 

 

 


IF3

 

 

 

 


AsF5

 

 

 

 

 

OF2

 

 

 

 

 

N2H2

 

 

 

 

N2O

 

 

 

 

 

N2O4

 

 

 

 

 

C6H6

 

 

 

 

 

CH3I

 

 

 

 

 

C2H6

 

 

 

 

 

C2Cl2

 

 

 

 

 

COCl2

 

 

 

 

 

SCN-

 

 

 

 

 

CH3NH2

 

 

 

 

 

 

HCOOH

 

 

 

 

 

AsF3

 

 

 

 

 

H2C2O4

 

 

 

 

 

SF2

 

 

 

 

 

SF4

 

 

 

 

 

C2F4

 

 

 

 

 

H2O2

 

 

 

 

 

C2H5OH

 

 

 

 

 

ClO3-

 

 

 

 

 

CO

 

 

 

 

 

CHCl3

 

 

 

 

 

 

จงใช้ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีที่กำหนดให้  เพื่อตอบคำถามหรือดำเนินการตามที่ต้องการต่อไปนี้


 


1

H

2.1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

Li

1.0

4

Be

1.5

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5

B

2.0

6

C

2.5

7

N

3.0

8

O

3.5

9

F

4.0

11

Na

1.0

12

Mg

1.2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

13

Al

1.5

14

Si

1.8

15

P

2.1

16

S

2.5

17

Cl

3.0

19

K

0.9

20

Ca

1.0

21

Sc

1.3

22

Ti

1.4

23

V

1.5

24

Cr

1.6

25

Mn

1.6

26

Fe

1.7

27

Co

1.7

28

Ni

1.8

29

Cu

1.8

30

Zn

1.6

31

Ga

1.7

32

Ge

1.9

33

As

2.1

34

Se

2.4

35

Br

2.8

37

Rb

0.9

38

Sr

1.0

39

Y

1.2

40

Zr

1.3

41

Nb

1.5

42

Mo

1.6

43

Tc

1.7

44

Ru

1.8

45

Rh

1.8

46

Pd

1.8

47

Ag

1.6

48

Cd

1.6

49

In

1.6

50

Sn

1.8

51

Sb

1.9

52

Te

2.1

53

I

2.5

55

Cs

0.8

56

Ba

1.0

57

La

1.1

72

Hf

1.3

73

Ta

1.4

74

W

1.5

75

Re

1.7

76

Os

1.9

77

Ir

1.9

78

Pt

1.8

79

Au

1.9

80

Hg

1.7

81

Tl

1.6

82

Pb

1.7

83

Bi

1.8

84

Po

1.9

85

At

2.1

87

Fr

0.8

88

Ra

1.0

89

Ac

1.1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

30.  In each pair of bonds  use an arrow (+®) to show the  direction of polarity in each bond.
       (จากพันธะของธาตุแต่ละคู่  จงใช้เครื่องหมาย  +®  ขอกทิศทางของขั้ว)

                a)       C—O           and         C—N                                                     c)        B—O          and         B—S

 

                b)      P—Br           and         P—Cl                                                     d)       B—F           and         B—I

 

31.  For each of the bonds listed below, indicate (+®) which atom is the more negatively charged.
      (พันธะแต่ละคู่ต่อไปนี้  จงใช้เครื่องหมาย  +®  แสดงทิศทางของขั้ว)

                a)    C—N                              b)    C—H                              c)    C—Br                             d)    S—O             

 

 

 

32.  For each of the bonds listed below, classify each bond and indicate full or partial charges, if any.
       (จงพิจารณาว่าพันธะที่แสดงในแต่ละข้อเป็นพันธะชนิดใด  และแต่ละด้านแสดงขั้วไฟฟ้าใด)

                a)            Na—Cl                                                                                   e)             Mg—H  

                b)           C—O                                                                                      f)              Cs—F   

                c)            Cu—O                                                                                    g)            Cl—Cl

                d)            C—H                                                                                                                  h)            Al—Cl

 

33.  Draw the Lewis Structures for the following molecules and (for the central atom) determine the

       shape, the bond angle, and its hybridization.
    • Indicate each bond’s polarity by drawing a dipole moment along each bond. Then, use

       these to determine the molecule polarity, polar or nonpolar,

      (จงเขียนสูตรลิวอิสของสารที่กำหนด บอกรูปร่างโมเลกุล ขนาดของมุมระหว่างพันธะ และไฮบริไดเซชัน  พร้อมระบุว่าเป็น
       โมเลกุลมีขั้วหรือไม่)


Molecule Formula


Lewis Structure


Shape of Molecule

 


Bond angle

molecule polarity


Hybridisation

polar

 

nonpolar


C2H2

 

 

 

 

 

 

 

 


H2O

 

 

 

 

 

 

 

 


CH4

 

 

 

 

 

 

 

 


NH3

 

 

 

 

 

 

 

 


CH2Cl2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

34.  For each of the following molecules, draw the Lewis structure (with any resonance structures, if applicable),  
       indicate the molecular shapes and bond angles, indicate the molecular polarity (if any), and identify the major
       intermolecular force in each compound.  Hint – in this worksheet, as in all chemistry problems you’ll see,
       polyatomic ions aren’t drawn as big lines of atoms.
       (จงเขียนสูตรลิวอิสของสารแต่ละชนิด  พร้อมแสดงเรโซแนนซ์  บอกรูปร่างโมเลกุล  บอกขนาดของมุมระหว่างพันธะ  ระบุว่า
       เป็นโมเลกุลมีขั้วหรือไม่  มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลชิดใดเป็นแรงหลัก)

       34.1)  carbon tetrafluoride

 

       34.2)  BF3

 

       34.3)  NF3

 

       34.4)  H2CS

 

       34.5)  carbonate ion

 

       34.6)  CH2F2

 

       34.7)  nitrate ion

 

       34.8)  O2

 

       34.9)  PF3

 

       34.10)  H2S



รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

Size : 11.29 KBs
Upload : 2012-11-26 20:43:08
ติชม

กำลังแสดงหน้า 1/0
<<
1
>>

ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?

0
คะแนนโหวด
สร้างโดย :


K-Me
รายละเอียด Share
สถานะ : ผู้ใช้ทั่วไป
วิทยาศาสตร์


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
70 หมู่ 2 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ 10170
โทรศัพท์ 0 2441 3593 E-Mail:satriwit3@gmail.com


Generated 0.845906 sec.